Logo of OPDC ก.พ.ร. FAQ สำหรับการค้นหา  |  ภาษาไทย   |   English   |   Mobile   |   Help   |  

หน้าหลัก หน้าหลัก | ติดต่อ | ผังเว็บไซต์ |  หน้าหลัก
Share แชร์ พิมพ์หน้านี้
ข่าวเด่น ก.พ.ร. / ปี 2553 / สิงหาคม / กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554



          สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง 4 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน และกระทรวงสาธารณสุข

          หลักการของการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง คือ ให้ส่วนราชการะดับกระทรวงเป็นผู้กำหนดน้ำหนัก ตัวชี้วัด และรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินผลและการดำเนินการประเมินผลกับส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าในสังกัดหรือในกำกับเอง โดยอยู่ภายใต้หลักการที่ ก.พ.ร. กำหนด และให้คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล ดำเนินการเจรจาข้อตกลงและติดตามประเมินผล ในระดับกระทรวงกลุ่มภารกิจ และสำนักงานปลัดกระทรวง เท่านั้น จากนั้นให้กระทรวงเป็นผู้เจรจาข้อตกลงและประเมินผลการปฏิบัติราชการกับส่วนราชการในสังกัด เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันทั้งกระบวนการ

          สำหรับกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 นั้น จะมีความยืดหยุ่นในการกำหนดน้ำหนักในมิติที่ 1 - 3 ตามความเหมาะสมของแต่ละกระทรวง โดยกระทรวงนำร่องจะพิจารณากำหนดน้ำหนักให้ครบทั้ง 4 มิติ รวมกันเท่ากับร้อยละ 100 โดยสัดส่วนของน้ำหนักที่กำหนดในมิติที่ 1 รวมกับมิติที่ 2 จะต้องมากกว่าน้ำหนักของมิติที่ 3 รวมกับมิติที่ 4 ทั้งนี้ กระทรวงนำร่องจะต้องแสดงเหตุผลประกอบการพิจารณาความเหมาะสมในการกำหนดสัดส่วนของน้ำหนักในแต่ละมิติให้ชัดเจน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

          มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล แสดงถึงผลสำเร็จของส่วนราชการในการบรรลุเป้าประสงค์ หรือเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ พันธกิจ ภารกิจหลัก ของกระทรวง กลุ่มภารกิจ และส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อยละ A+30

          มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ แสดงถึงการให้บริการที่มีคุณภาพ โดยสร้างความพึงพอใจ ความเชื่อมั่น และการตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อยละ B+7

          มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ แสดงถึงการปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า รวมถึงการปรับปรุงกระบวนงานให้มีความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรม และมีมาตรฐาน มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อยละ C+7

          มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ แสดงการพัฒนาส่วนราชการให้มีศักยภาพและมีคุณภาพอย่างยั่งยืน ด้วยการวางระบบและนำเทคนิคการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการที่ทันสมัยและเหมาะสมมาใช้ในส่วนราชการ มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อย 20

          สำหรับรายละเอียดของประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีดังนี้


สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำ เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง 4 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน และกระทรวงสาธารณสุข          คือ ให้ส่วนราชการะดับกระทรวงเป็นผู้กำหนดน้ำหนัก ตัวชี้วัด และรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินผลและการดำเนินการประเมินผลกับส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าในสังกัดหรือในกำกับเอง โดยอยู่ภายใต้หลักการที่ ก.พ.ร. กำหนด และให้คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล ดำเนินการเจรจาข้อตกลงและติดตามประเมินผล ในระดับกระทรวงกลุ่มภารกิจ และสำนักงานปลัดกระทรวง เท่านั้น จากนั้นให้กระทรวงเป็นผู้เจรจาข้อตกลงและประเมินผลการปฏิบัติราชการกับส่วนราชการในสังกัด เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันทั้งกระบวนการ          สำหรับนั้น จะมีความยืดหยุ่นในการกำหนดน้ำหนักในมิติที่ 1 - 3 ตามความเหมาะสมของแต่ละกระทรวง โดยกระทรวงนำร่องจะพิจารณากำหนดน้ำหนักให้ครบทั้ง 4 มิติ รวมกันเท่ากับร้อยละ 100 โดยสัดส่วนของน้ำหนักที่กำหนดในมิติที่ 1 รวมกับมิติที่ 2 จะต้องมากกว่าน้ำหนักของมิติที่ 3 รวมกับมิติที่ 4 ทั้งนี้ กระทรวงนำร่องจะต้องแสดงเหตุผลประกอบการพิจารณาความเหมาะสมในการกำหนดสัดส่วนของน้ำหนักในแต่ละมิติให้ชัดเจน โดยมีรายละเอียด ดังนี้          แสดงถึงผลสำเร็จของส่วนราชการในการบรรลุเป้าประสงค์ หรือเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ พันธกิจ ภารกิจหลัก ของกระทรวง กลุ่มภารกิจ และส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อยละ A+30          แสดงถึงการให้บริการที่มีคุณภาพ โดยสร้างความพึงพอใจ ความเชื่อมั่น และการตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อยละ B+7          แสดงถึงการปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า รวมถึงการปรับปรุงกระบวนงานให้มีความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรม และมีมาตรฐาน มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อยละ C+7          แสดงการพัฒนาส่วนราชการให้มีศักยภาพและมีคุณภาพอย่างยั่งยืน ด้วยการวางระบบและนำเทคนิคการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการที่ทันสมัยและเหมาะสมมาใช้ในส่วนราชการ มีน้ำหนักรวมเท่ากับร้อย 20          สำหรับรายละเอียดของประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีดังนี้
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงนำร่อง
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554


 

ประเด็นการประเมินผล
การปฏิบัติราชการ

 

 

ตัวชี้วัด

 

น้ำหนัก

 

(ร้อยละ)

 

มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล

 

A+30

 

  ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ

 

1.

 

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล

 

20

 

 

 

 

 

1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง

 

(5)

 

 

 

 

 

1.2 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล/

 

(3)

 

 

 

 

 

1.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง

 

(10)

 

 

 

หมายเหตุ: กรณีที่กระทรวงใดไม่มีตัวชี้วัด 1.3 ให้นำน้ำหนักไปรวมในตัวชี้วัดที่ 1.1

 

 

 

 

 

 

 

1.4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน

 

(2)

 

 

 

2.

 

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ

 

10

 

 

 

หมายเหตุ: กรณีไม่มีกลุ่มภารกิจให้พิจารณานำน้ำหนักไปรวมไว้ในตัวชี้วัดในมิติที่ 1-3 ตามความเหมาะสม

 

 

 

 

 

3.

 

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า

 

A

 

 

 

·

 

ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับภารกิจหลักยุทธศาสตร์ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าที่เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ตามที่กระทรวงกำหนดหรือเจรจากับส่วนราชการ

 

 

 

 

 

หมายเหตุ: ส่วนราชการที่อยู่ในกำกับหรือในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีฯ ไม่ต้องประเมินผลตามตัวชี้วัดที่ 1 และ ตัวชี้วัดที่ 2 ให้พิจารณานำน้ำหนักไปรวมไว้ในตัวชี้วัดในมิติที่ 1-3 ตามความเหมาะสม

 

 

 

 

 


เผยแพร่ข้อมูลเมื่อ 26 สิงหาคม 2553 11:06:41 ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดเมื่อ 26 สิงหาคม 2553 11:25:59
ข่าวเด่น ก.พ.ร.
    ลิงค์     |     สมาชิกเครือข่าย     |     RSS feed     |     คำถามที่พบบ่อย            

เกี่ยวกับ

กฏหมายและระเบียบ

หนังสือเวียน

ข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ

ศูนย์ความรู้

ประชาสัมพันธ์

W3C   Facebook Facebook สำนักงาน ก.พ.ร.   PMQA Channel  ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ  ipv6 ready  www.info.go.th  การปฏิเสธความรับผิดชอบ |  Webmail| Intranet สำหรับข้าราชการ | ผังเว็บไซต์ นโยบายเว็บไซต์ 

Slocan

สงวนลิขสิทธิ์โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

59/1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 02 356 9999 โทรสาร 02 281 7882 สายด่วน 1785 e-mail: administrator@opdc.go.th