Logo of OPDC ก.พ.ร. FAQ สำหรับการค้นหา  |  ภาษาไทย   |   English   |   Mobile   |   Help   |  

หน้าหลัก หน้าหลัก | ติดต่อ | ผังเว็บไซต์ |  หน้าหลัก
Share แชร์ พิมพ์หน้านี้
ข่าวเด่น ก.พ.ร. / ปี 2553 / สิงหาคม / กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554



alt          สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งแบ่งมิติการประเมินผลออกเป็น 4 มิติ เหมือนเช่นเคย คือ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล  มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ  มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ  มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์การ  โดยประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกับการประเมินผลในปี 2553 แต่จะมีความแตกต่างในรายละเอียดของบางตัวชี้วัด ซึ่งได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน โดยกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ดังกล่าว ได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) แล้ว ในการประชุม ก.พ.ร. ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2553  และสำนักงาน ก.พ.ร. ได้แจ้งเวียนกรอบการประเมินผลฯ ดังกล่าว พร้อมปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ทราบแล้ว เมื่อช่วงต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา

          สำหรับรายละเอียดของประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีดังนี้


สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำ ซึ่งแบ่งมิติการประเมินผลออกเป็น 4 มิติ เหมือนเช่นเคย คือ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล  มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ  มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ  มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์การ  โดยประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกับการประเมินผลในปี 2553 แต่จะมีความแตกต่างในรายละเอียดของบางตัวชี้วัด ซึ่งได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน โดยกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ดังกล่าว ได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) แล้ว ในการประชุม ก.พ.ร. ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2553  และสำนักงาน ก.พ.ร. ได้แจ้งเวียนกรอบการประเมินผลฯ ดังกล่าว พร้อมปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ทราบแล้ว เมื่อช่วงต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา          สำหรับรายละเอียดของประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีดังนี้

สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำ ซึ่งแบ่งมิติการประเมินผลออกเป็น 4 มิติ เหมือนเช่นเคย คือ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล  มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ  มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ  มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์การ  โดยประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกับการประเมินผลในปี 2553 แต่จะมีความแตกต่างในรายละเอียดของบางตัวชี้วัด ซึ่งได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน โดยกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ดังกล่าว ได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) แล้ว ในการประชุม ก.พ.ร. ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2553  และสำนักงาน ก.พ.ร. ได้แจ้งเวียนกรอบการประเมินผลฯ ดังกล่าว พร้อมปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ทราบแล้ว เมื่อช่วงต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา          สำหรับรายละเอียดของประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีดังนี้

สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำ ซึ่งแบ่งมิติการประเมินผลออกเป็น 4 มิติ เหมือนเช่นเคย คือ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล  มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ  มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ  มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์การ  โดยประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกับการประเมินผลในปี 2553 แต่จะมีความแตกต่างในรายละเอียดของบางตัวชี้วัด ซึ่งได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน โดยกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ดังกล่าว ได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) แล้ว ในการประชุม ก.พ.ร. ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2553  และสำนักงาน ก.พ.ร. ได้แจ้งเวียนกรอบการประเมินผลฯ ดังกล่าว พร้อมปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ทราบแล้ว เมื่อช่วงต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา          สำหรับรายละเอียดของประเด็นการประเมินผลและตัวชี้วัดในแต่ละมิติ ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีดังนี้
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ประเด็นการประเมินผล
การปฏิบัติราชการ
 
ตัวชี้วัด 
น้ำหนัก 
(ร้อยละ) 

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล

50 

  ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ  

1.

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล

25

 

 

1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 

(8)

 

 

 

1.2 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล 

(5)

 

 

1.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง

หมายเหตุ: กรณีที่กระทรวงใดไม่มีตัวชี้วัด 1.3 ให้นำน้ำหนักไปรวม ในตัวชี้วัดที่ 1.1

(10)

 

 

1.4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน

(2)

 

2. 

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ

หมายเหตุ: กรณีไม่มีกลุ่มภารกิจให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 1.1 และตัวชี้วัดที่ 3 ตัวชี้วัดละ ร้อยละ 5 

10

 

3. 

ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า

หมายเหตุ: ยกเว้น ส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีฯ หรือส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายก หรือกระทรวงฯ ซึ่งไม่ต้องประเมินผลตามประเด็นการวัดผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ ให้มีน้ำหนักของตัวชี้วัดที่ 3 เป็นร้อยละ 50

15

 

 

 

3.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก

(10)

 

 

3.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) 

หมายเหตุ: กรณีมีตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการที่สะท้อนผลสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิตได้ครบถ้วนแล้ว ไม่ต้องวัดผลตามตัวชี้วัดนี้  โดยให้นำน้ำหนักไปรวมในตัวชี้วัด 3.1 

(5) 

 

 

-3.3 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนระบบการตรวจราชการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติราชการ

หมายเหตุ: กำหนดเป็นตัวชี้วัดภาคบังคับของสำนักงานปลัดกระทรวงทุกกระทรวงที่มีผู้ตรวจราชการประจำกระทรวง โดยรายละเอียดตัวชี้วัดให้เป็นไปตามที่กำหนดโดยสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กำหนดน้ำหนักของตัวชี้วัดเท่ากับ 2 และปรับลดน้ำหนักตัวชี้วัดที่ 3.1 ลงจากร้อยละ 10 เหลือร้อยละ 8

(2) 

มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ  

15 

  ความพึงพอใจ

4.

ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

6

 

5.

 


เผยแพร่ข้อมูลเมื่อ 25 สิงหาคม 2553 10:05:29 ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดเมื่อ 25 สิงหาคม 2553 10:24:09
ข่าวเด่น ก.พ.ร.

เกี่ยวกับ

กฏหมายและระเบียบ

หนังสือเวียน

ข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ

ศูนย์ความรู้

ประชาสัมพันธ์

W3C   Facebook Facebook สำนักงาน ก.พ.ร.   PMQA Channel  ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ  ipv6 ready  www.info.go.th  การปฏิเสธความรับผิดชอบ |  Webmail| Intranet สำหรับข้าราชการ | ผังเว็บไซต์ นโยบายเว็บไซต์ 

Slocan

สงวนลิขสิทธิ์โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

59/1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 02 356 9999 โทรสาร 02 281 7882 สายด่วน 1785 e-mail: administrator@opdc.go.th