คำถามที่พบบ่อย

F A Q/ด้านการจัดโครงสร้าง/เรื่อง ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น/

1. สำนักงาน ก.พ.ร. จะดำเนินการแก้ไขกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเฉพาะเรื่องการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ให้ปรากฏในกฎกระทรวงกระทรวงฯ ไปก่อน และในกรณีการแก้ไขกฎกระทรวงฯ ตามผลการพิจารณาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยงานนั้น จะต้องมีการแก้ไขอีกครั้งหนึ่งใช่หรือไม่ อย่างไร เปิดดู 798 ครั้ง
2. ตำแหน่งหัวหน้าของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นมีสถานะเป็นอะไร เปิดดู 937 ครั้ง
3. ขอทราบรายละเอียดการแบ่งงานภายในศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และเมื่อจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นแล้ว จะมีแนวทางการดำเนินงานอย่างไร เปิดดู 884 ครั้ง
4. การจัดโครงสร้างภายในของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยแบ่งออกเป็น กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทำให้เข้าใจว่าทำหน้าที่เช่นเดียวกับ ป.ป.ช. และ ป.ป.ท. ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการสอบสวนเอง จึงอาจใช้ชื่อที่ไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด เปิดดู 906 ครั้ง
5. กลุ่มงานส่งเสริมและคุ้มครองจริยธรรมภายในศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นกลุ่มงานตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนที่ให้จัดตั้งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมขึ้นในส่วนราชการใช่หรือไม่ ถ้าใช่จะยังคงทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำส่วนราชการหรือไม่ เปิดดู 997 ครั้ง
6. ประมวลจริยธรรมกำหนดให้มีข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้นขึ้นไปเป็นหัวหน้ากลุ่มคุ้มครองจริยธรรม และเมื่อมีการจัดตั้งกลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ จะปฏิบัติหน้าที่อย่างไร เปิดดู 1030 ครั้ง
7. เมื่อมีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นแล้ว หากมีเรื่องร้องเรียนการทุจริตฯ เกิดขึ้น จะมีวิธีการจัดการข้อร้องเรียนอย่างไร เปิดดู 875 ครั้ง
8. อำนาจหน้าที่ของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ในข้อที่ 3 ที่กำหนดว่า “ดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ” นั้น ทำให้เข้าใจว่าศูนย์ปฏิบัติการฯ จะดำเนินการสอบสวนในเรื่องทุจริตเอง จึงขอทราบความชัดเจนในเรื่องนี้ด้วย เปิดดู 930 ครั้ง
9. หากศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นทำหน้าที่เพียงการรับและส่งข้อมูลเรื่องร้องเรียน จะทำให้ศูนย์ปฏิบัติการฯ ไม่ศักดิ์สิทธิ์ และจะทำให้ไม่มีประชาชนร้องเรียนเพราะไม่ได้ดำเนินการเอง ดังนั้น ควรจะต้องมีความชัดเจนว่ามีศูนย์ปฏิบัติการฯ เพื่อรับเรื่องร้องเรียนหรือเพื่อปฏิบัติการ และจะต้องกำหนดขอบเขตของงานให้ชัดเจน นอกจากนี้ การใช้ชื่อว่า “ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” ทำให้เข้าใจว่าศูนย์ปฏิบัติการฯ ต้องดำเนินการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นเอง เปิดดู 865 ครั้ง
10. ในการดำเนินการของศูนย์ปฏิบัติการฯ จะทำให้ต้องจัดทำเอกสารเพิ่มมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร เปิดดู 918 ครั้ง
11. ในการจัดทำตัวชี้วัดด้านการทุจริตคอร์รัปชั่น สำนักงาน ก.พ.ร. ควรเป็นเจ้าภาพในการดำเนินการ เช่น ชี้แจงร่วมกับสำนักงาน ป.ป.ช. และสร้างความเข้าใจให้กับหน่วยงานในต่างประเทศ เปิดดู 780 ครั้ง
12. กรณีของกลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีอำนาจหน้าที่หนึ่งคือ ปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี นั้น บทบาทหน้าที่หรือประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวกับเรื่องธรรมาภิบาลทั้งหมด มีหน่วยงานกลางเป็นผู้รับผิดชอบทั้งสิ้น ได้แก่ สำนักงาน ก.พ. สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงบประมาณ กระทรวงการคลัง สำนักนายกรัฐมนตรี ดังนั้น การถ่ายทอดมายังแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของแต่ละกระทรวงจะไม่ได้นำประเด็นยุทธศาสตร์เกี่ยวกับธรรมาภิบาลในแผนบริหารราชการแผ่นดินไปดำเนินการต่อ ซึ่งจะส่งผลต่อการจัดทำแผนงาน โครงการ และงบประมาณ เปิดดู 787 ครั้ง
13. ในการดำเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นอาจเกิดปัญหาหากไม่มีการขับเคลื่อนการดำเนินการในระดับท้องถิ่น และควรมีการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นทั้งฝ่ายผู้ให้สินบนและฝ่ายผู้รับสินบน จึงขอทราบแนวทางที่จะดำเนินการต่อไป เปิดดู 906 ครั้ง
14. ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการได้ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาตลอด แต่ในมุมมองจากต่างประเทศเห็นว่าประเทศไทยในเรื่องการทุจริตคอร์รัปชั่นอยู่ในอันดับที่ไม่ดี ดังนั้น ควรมีการปรับปรุงตัวชี้วัดหรือไม่ อย่างไร เปิดดู 1091 ครั้ง
15. ในกลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบได้กำหนดอัตรากำลังไว้ 2-5 อัตรา จึงขอทราบความชัดเจนเกี่ยวกับอัตรากำลังที่จะบรรจุในกลุ่มงานนี้ เปิดดู 1094 ครั้ง
16. ควรกำหนดโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการฯ ให้ชัดเจน โดยกำหนดตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์ และให้อัตรากำลังเพิ่มใหม่เพื่อปฏิบัติงาน รวมทั้งงบประมาณในการดำเนินงาน เปิดดู 909 ครั้ง